การจัดการภัยพิบัติฉุกเฉิน

การจัดการภัยพิบัติฉุกเฉิน

แหล่งรวมข้อมูลครบในที่เดียว

กรมอุตุนิยมวิทยาเป็นหน่วยงานที่คุ้นเคยกันดีในการทำหน้าที่พยากรณ์อากาศ คาดการณ์เรื่องอุณหภูมิ ฝน ฟ้าคะนอง ลมกระโชก คลื่นทะเล และอื่น ๆ อีกหลายอย่าง ขณะที่เว็บไซต์ Tmd.go.th ขององค์กรเจ้าแห่งการคาดการณ์สภาพอากาศแห่งนี้ก็เป็นแหล่งที่รวมข้อมูลพยากรณ์ลม ฟ้า อากาศ และการเตือนภัยไว้ละเอียดที่สุด ถ้าเปรียบเทียบกับแหล่งรวมเกมออนไลน์ก็เหมือนกับ 188bet Thailand ที่รวมเกมต่าง ๆ ไว้จำนวนมาก ทั้งเกมยอดนิยมแบบดั้งเดิม เช่น [...]

การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน

การปฏิบัติแนวทางหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ และการบริหารจัดการหลังเกิดภัยพิบัติ คือ การจัดตั้งคณะทำงานโดยให้ชุมชนในพื้นที่เป็นแกนกลาง ซึ่งประเทศไทยมีการจัดตั้งเครือข่ายจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนครั้งแรกที่บ้านน้ำเค็ม จังหวัดพังงา หลังเกิดภัยพิบัติสึนามิเมื่อปลายปี พ.ศ. 2547 โดยมีสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นหน่วยงานรัฐที่ให้การสนับสนุน ส่งเสริมให้ชุมชนทำหน้าที่เอง หลักการสำคัญของการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน คือ ส่งเสริมให้ชุมชนผู้ประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติรวมตัวกันทำหน้าที่บริหารจัดการภัยพิบัติด้วยตนเอง ไล่ตั้งแต่การช่วยเหลือผู้ประสบภัยเฉพาะหน้า การฟื้นฟูชุมชน และการวางแผนรับมือภัยพิบัติ โดยบุคลากรที่เป็นสมาชิกเครือข่ายต้องมีการฝึกซ้อมทำหน้าที่เฝ้าระวังภัย และฝึกซ้อมการช่วยอพยพเป็นประจำ รวมทั้งต้องทำกิจกรรมต่าง ๆ [...]

การแจ้งเตือนภัยใกล้ตัว

ภัยพิบัติทางธรรมชาติใกล้ตัวเราจัดเรียงตามอัตราการเกิดบ่อย ประกอบด้วยน้ำท่วมหรืออุทกภัย พายุฤดูร้อน ภัยแล้ง ดินโคลนถล่ม ไฟป่า แผ่นดินไหวสึนามิและไต้ฝุ่น (พายุหมุนเขตร้อน) ซึ่งภัยพิบัติแต่ละประเภทมีหน่วยงานเฝ้าระวัง และแจ้งเตือนประชาชนในพื้นที่เสี่ยง ดังนี้ กรมอุตุนิยมวิทยา ภารกิจหลัก: ติดตามสภาพอากาศ ความเสี่ยงเกิดอุทกภัยจากฝนตกหนัก และแนวโน้มจะเกิดพายุฤดูร้อน การแจ้งเตือน: แจ้งเตือนภัยล่วงหน้าผ่านทางสื่อมวลชนประเภทต่าง ๆ ทางระบบข้อความสั้น (SMS) ระบบสารสนเทศ และแจ้งกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย [...]

การช่วยเหลือฉุกเฉิน

เมื่อเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ หน่วยงานภาครัฐที่ปฏิบัติหน้าที่ช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบภัยจะดำเนินการช่วยเหลือด้วยแผนการจัดการในภาวะฉุกเฉิน (Disaster Emergency Management) เพื่อความรวดเร็วและทันต่อความต้องการของผู้ประสบภัย โดยมีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานกำหนดตัวบุคคลผู้มีอำนาจสั่งการ การรับมือกับภัยพิบัติแต่ละระดับ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้กำหนดแนวทางการปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติในภาวะฉุกเฉินไว้ ดังนี้ ภัยพิบัติขนาดเล็ก ให้ผู้อำนวยการอำเภอ หรือผู้ช่วยผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร ทำหน้าที่ควบคุมและสั่งการ โดยให้กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอำเภอ เทศบาล หรือองค์การบริหารส่วนตำบล จัดตั้งศูนย์บัญชาการรับผิดชอบการบริหารจัดการภัยพิบัติที่เกิดขึ้นจนกว่าสถานการณ์จะกลับเข้าสู่ภาวะปกติ ภัยพิบัติขนาดกลาง ให้ผู้อำนวยการจังหวัด (ผู้ว่าราชการจังหวัด) [...]